ธาตุกึ่งโลหะ มีคุณสมบัติดังนี้
1.มีค่า IE และ EN ค่อนข้างสูง 2.จุดเดือด จุดหลอมเหลว สูง
3.มีความหนาแน่นสูง
4.สามารถนำไฟฟ้าได้
5.สามารถเกิดสารประกอบได้ ทั้งสารประกอบไอออนนิกและสารประกอบโคเวเลนต์
ธาตุกึ่งโลหะ (semimetals) หรือ ธาตุเมทัลลอยด์ ( matalliods) จะอยู่ค่อนไปทางขวาของตารางธาตุจะเป็นเส้นทึบเป็นขั้นบันไดปรากฏอยู่ ซึ่งจัดเป็นธาตุกึ่งโลหะ ซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างโลหะและอโลหะ ซึ่งคุณสมบัติสำคัญที่ใช้จำแนกประเภทของธาตุเหล่านี้คือคุณสมบัติการนำไฟฟ้า ธาตุกึ่งโลหะส่วนใหญ่จะเป็นสารกึ่งตัวนำ ( semiconductors ) และส่วนใหญ่มีโครงสร้างแบบโครงผลึกร่างตาข่าย
ธาตุกึ่งโลหะ ได้แก่ โบรอน ( B ) ซิลิคอน(Si) เจอร์เมเนียม(Ge) อาร์เซนิก(As) พลวง(Sb) เทลลูเรียม(Te) พอโลเนียม(Po) และแอสทาทีน(At)
ตำแหน่งของธาตุกึ่งโลหะเป็นดังนี้
ตารางแสดงสมบัติบางประการของธาตุกึ่งโลหะ
จากตาราง จะพบว่าธาตุกึ่งโลหะส่วนใหญ่มีค่าพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 และค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีข้อนข้างสูง มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นมีค่าสูง และสามารถนำไฟฟ้าได้เช่นเดียวกับธาตุโลหะ สามารถเกิดสารประกอบไอออนิก และ สารประกอบโคเวเลนต์
จากสมบัติข้างต้นทำให้ได้ข้อมูลว่าตั้งแต่ธาตุโบรอนถึงธาตุแอสทาทีน โดยที่ตำแหน่งธาตุเหล่านี้อยู่ชิดเส้นทึบลักษณะขั้นบันไดในตารางธาตุตั้งแต่หมู่ 3A ลงมามีสมบัติเป็นทั้งโลหะ และอโลหะจึงจัดเป็นธาตุกึ่งโลหะ ( ยกเว้นธาตุ Al มีสมบัติเป็นโลหะ และ Po และAt เป็นธาตุกัมมันตรังสี )
ธาตุกึ่งโลหะ ได้แก่ โบรอน ( B ) ซิลิคอน(Si) เจอร์เมเนียม(Ge) อาร์เซนิก(As) พลวง(Sb) เทลลูเรียม(Te) พอโลเนียม(Po) และแอสทาทีน(At)
ตำแหน่งของธาตุกึ่งโลหะเป็นดังนี้
ตารางแสดงสมบัติบางประการของธาตุกึ่งโลหะ
ธาตุ | จำนวนเวเลนซ์ ติเล็ก- ตรอน | รัศมี อะตอม ( pm) | IE1 (KJ/mol) | EN (KJ/mol) | ความ หนาแน่น (g/cm3) | จุด หลอม - เหลว ( C ) | จุด เดือด ( C ) | การนำ ไฟฟ้า | เกิดสาร ประกอบ |
B | 3 | 88 | 807 | 2.04 | 2.34 | 2075 | 4000 | นำ | ไอออนิก และ โคเเลนต์ |
Si | 4 | 117 | 793 | 1.90 | 2.33 | 1414 | 3265 | นำ | ไอออนิก และ โครผลึก ร่างตข่าย |
Ge | 4 | 122 | 768 | 2.01 | 5.32 | 938.25 | 2833 | นำ | ไอออนิก และ โคเเลนต์ |
As | 5 | 121 | 951 | 2.18 | 5.75 | 358 ละลาย | 603 ระเหิด | นำ | ไอออนิก และ โคเเลนต์ |
Sb | 5 | 141 | 840 | 2.05 | 6.68 | 630.64 | 1587 | นำ | ไอออนิก และ โคเเลนต์ |
Te | 6 | 137 | 876 | 2.10 | 6.24 | 449.51 | 988 | นำ | ไอออนิก และ โคเเลนต์ |
Po | 6 | 150 | 818 | 2.00 | 9.20 | 254 | 962 | - | - |
At | 7 | 140 | - | 2.20 | - | 302 | 3200? 300 | - | - |
จากตาราง จะพบว่าธาตุกึ่งโลหะส่วนใหญ่มีค่าพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 และค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีข้อนข้างสูง มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นมีค่าสูง และสามารถนำไฟฟ้าได้เช่นเดียวกับธาตุโลหะ สามารถเกิดสารประกอบไอออนิก และ สารประกอบโคเวเลนต์
จากสมบัติข้างต้นทำให้ได้ข้อมูลว่าตั้งแต่ธาตุโบรอนถึงธาตุแอสทาทีน โดยที่ตำแหน่งธาตุเหล่านี้อยู่ชิดเส้นทึบลักษณะขั้นบันไดในตารางธาตุตั้งแต่หมู่ 3A ลงมามีสมบัติเป็นทั้งโลหะ และอโลหะจึงจัดเป็นธาตุกึ่งโลหะ ( ยกเว้นธาตุ Al มีสมบัติเป็นโลหะ และ Po และAt เป็นธาตุกัมมันตรังสี )
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น